วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

แบบทดสอบเคมี ม.4

เรื่อง อนุภาคมูลฐานของอะตอม เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด ข้อสอบแต่ละข้อสามารถคลิกคำตอบได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น
1.  ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
    ก.  จำนวนโปรตอนเรียกว่าเลขอะตอม
    ข.  ผลรวมของโปรตอนและนิวตรอนเรียกว่าเลขมวล
    ค.  อะตอมของธาตุต่างชนิดกันจะมีเลขมวลเท่ากันได้เรียกว่า ไอโซโทป
    ง.  อะตอมของธาตุชนิดหนึ่งจะมีโปรตอนเฉพาะตัวไม่ซ้ำกับธาตุอื่น 
2. ข้อใดเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ได้ถูกต้อง
    ก.  ข.  ค.  
    ง.  
     
3. จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ    ข้อใดถูกต้อง
    ก.  p=13  ,  e=13  ,  n=13ข.  p=14  ,  e=14  ,  n=13ค.  P=13  ,  e=13  ,  n=14
    ง.  P=14  ,  e=14  ,  n=13
     
4. ธุาตุ X  มี 80  อิเล็กตรอนและ 130  นิวตรอน  ข้อใดเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ถูกต้อง
    ก.  
    ข.  
    ค.  
    ง.   

5. ข้อใดคือไอโซโทปของไฮโดรเจน
    ก.  โปรเทียม  ,  ดิวทีเรียม  ,  ไตรเลียม
    ข.  โปรเทียม  ,  ดิวทีเรียม  ,  ทริเทียม
    ค.  โปรเทียม  ,  ดิวเรียม  ,  ไตรเลียม
    ง.  
    ดิวทีเรียม  ,  ทริเทียม  ,  ไทเทเนียม
     
6. ข้อใดคือไอโซโทป
    ก.  ธาตุชนิดเดียวกันมีนิวตรอนต่างกัน
    ข.  ธาตุต่างชนิดมีนิวตรอนเท่ากัน
    ค.  ธาตุต่างชนิดมีเลขมวลเท่ากัน
    ง.  
    ธาตุชนิดเดียวกันมีเลขมวลเท่ากัน
     
7. สิ่งใดแสดงว่าธาตุหนึ่งแตกต่างจากธาตุหนึ่ง
    ก.  จำนวนนิวตรอน
    ข.  จำนวนนิวเคลียส
    ค.  จำนวนอิเล็กตรอน
    ง.  
    จำนวนโปรตอน
     
8. จาก  2+  ข้อใดถูกต้อง
    ก.  p 10  ,  n 12  ,  e 12ข.  p 12  ,  n 12  ,  e 12ค.  p 12  ,  n 12  ,  e 10
    ง.  p 10  ,  n 10  ,  e 12
     
9. ข้อใดคือไอโซโทน
    ก.    ,  
    ข.    ,  
    ค.    ,  
    ง.  
      ,  
     
10. ข้อใดคือไอโซบาร์

วันอังคารที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559

แบบจำลองอะตอมของดอลตัน

นปี พ.ศ. 2346 (ค.ศ. 1803)  จอห์น ดอลตัน (John Dalton)  นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้เสนอทฤษฎีอะตอมเพื่อใช้อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสารก่อนและหลังทำปฏิกิริยา  รวมทั้งอัตราส่วนโดยมวลของธาตุที่รวมกันเป็นสารประกอบ  ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1.  ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ หลายอนุภาค  อนุภาคเหล่านี้เรียกว่า อะตอม”  ซึ่งแบ่งแยกไม่ได้  และทำให้สูญหายไม่ได้
2.  อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมื อ่านต่อ

แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

แบบจำลองอะตอมของโบร์ ใช้อธิบายเกี่ยวกับเส้นสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจนได้ดี  แต่ไม่สามารถอธิบายเส้นสเปกตรัมของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอนได้        จึงได้มีการศึกษาเพิ่มเติมทางกลศาสตร์ควอนตัม      แล้วสร้างสมการสำหรับใช้คำนวณ       โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ ขึ้นมา จนได้แบบจำลองใหม่ ที่เรียกว่าแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้              อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสอย่าง อ่านต่อ


แบบจําลองอะตอมของทอมสัน

 ทอมสัน ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของแก๊สในหลอดรังสีแคโทด
     วิธีทำการทดลองและผลการทดลอง          หลอดรังสีแคโทด เป็นหลอดแก้วที่สูบอากาศออกหมด แล้วบรรจุแก๊สเข้าไป เมื่อให้กระแสไฟฟ้า 10,000 โวลต์ แล้ววางฉากเรืองแสงที่ฉาบด้วยซิงค์ซัลไฟต์(ZnS) ไว้ภายในหลอด จะเห็นเส้นเรืองแสงสีเขียวพุ่งจากแคโทด (ขั้วลบ) ไปยังแอโนด (ขั้วบวก) เรียกรังสีนี้ว่า อ่านต่อ

แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

เออร์เนสต์ รัทเธอร์ฟอร์ด (Ernest Rutherford) ได้ทำการทดลองยิงอนุภาคแอลฟา ( นิวเคลียสของอะตอมฮีเลียม ) ไปที่แผ่นโลหะบาง ในปี พ.ศ.2449 และพบว่าอนุภาคนี้ สามารถวิ่งผ่านได้เป็นจำนวนมาก แต่จะมีเพียงส่วนน้อยที่เป็นอนุภาคที่กระเจิง ( การที่อนุภาคเบนจากแนวการเคลื่อนที่จากที่เดิมไปยังทิศทางต่างๆกัน ) ไปจากแนวเดิมหรือส   อ่านต่อ


แบบจำลองอะตอมของโบร์

นักวิทยาศาสตร์ได้พยายามศึกษาเรื่องเกี่ยวกับอะตอม โดยได้เสนอแบบจำลองอะตอมจากการทดลองที่เกิดขึ้น ซึ่งแบบจำลองของรัทเธอร์ฟอร์ดได้รับการยอมรับแต่ก็ยังไม่สมบูรณ์ จึงมีผู้พยายามหาคำอธิบายเพิ่มเติม โดยในปี 1913 นีล โบร์ (Niels Bohr) ได้นำทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัมมาประยุกต์ใช้ในการทดลอง เพื่อพัฒนาแบบจำลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด แต่ในการทดลองของเขาสามารถอธิบายได้เฉพาะอะตอมของไฮโดรเจนที่มีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว โดยได้เสนอแบบจำลองอะตอมของไฮโดรเจนว่า   อ่านต่อ


วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุ

   ตารางธาตุ หมายถึง ตารางที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นมา เพื่อแบ่งธาตุที่มีสมบัติเหมือนกันออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายแก่การศึกษา โดยแบ่งธาตุทั้งหมดออกเป็นหมู่และคาบ
ธาตุที่อยู่ในแนวดิ่งเดียวกัน เรียกว่า อยู่ในหมู่เดียวกัน
ธาตุที่อยู่ในแนวนอนเดียวกัน เรียกว่า อยู่ในคาบเดียวกัน
ในระหว่างปี พ.ศ. 2346 ถึง 2456 มีธาตุต่าง ๆที่พบในธรรมชาติประมาณ 63 ธาตุ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ได้พยายามจัดธาตุเหล่านี้ให้เป็นหมวดหมู่หรือเป็นตารางธาตุโดยในช่วงแรก ๆ นั้นแบ่งธาตุออกเป็นหมวดหมู่โดยอาศัยสมบัติของธาตุ ทั้งนี้ได้จากการสังเกตพบความคล้ายคลึงกันของสมบัติของธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ทำใ อ่านต่อ


ธาตุ
มวลอะตอมมวลอะตอมของธาตุแถวที่ 1 และ 3
Li
Na
K
Cl
Br
I
6.940
22.997
39.096
35.453
79.909
126.197

23.018


81.197